เชื่อไหมว่าสมัยเด็กผมมีฝันสำหรับประเทศไทยอยู่สองเรื่อง เป็นฝันสำหรับประเทศไม่ใช่สำหรับตนเอง นึกไม่ออกเหมือนกันว่าทำไมจึงฝันอย่างนั้น เป็นฝันของเด็ก [อ่านต่อ]
เพื่อนรุ่นพี่ที่เคารพท่านหนึ่งชวนให้ผมเขียนประสบการณ์ช่วงใช้ชีวิตในยุโรปให้พวกเราอ่าน ผมอาศัยอยู่ในยุโรปนานห้าปี เรียนและทำงานในเบลเยี่ยม ฝรั่งเศส เยอรมัน [อ่านต่อ]
เรียนรู้วิธีการใช้แอสโทรเลบเพื่อกำหนดเวลาละหมาด จุดที่เป็นทิศกิบลัต โลกอิสลามยุคทองระหว่างศตวรรษที่ 7-15 นักเรียนของโรงเรียนศาสนาระดับมัดราซา (Madrasa) จะเรียน [อ่านต่อ]
ต้องยอมรับในความจัดจ้านของการนำเสนอเรื่องราวใหม่ๆนั่นคือ The Standards ครั้งนี้เคน นครินทร์ สัมภาษณ์ รศ.ดร.อักษรศรี พาณิชสาส์น แห่งคณะเศรษฐศาสตร์ [อ่านต่อ]
โรคโควิด-19 ไม่ใช่ตัวสร้างปัญหาแต่เป็นตัวเร่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเร็วขึ้น พูดภาษาชีวเคมีคือมันไม่ใช่ substrate หรือ reactant [อ่านต่อ]
[อ่านต่อ]
ปัญหาใหญ่ของโควิด-19 คือระบาดรวดเร็วจำเป็นต้องเร่งยับยั้ง สถานที่ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อมากที่สุดกลายเป็นโรงพยาบาล [อ่านต่อ]
คนจำนวนหนึ่งจดจำหน้าคนชื่อคนได้แม่นยำอย่างไม่น่าเชื่อ ขณะที่คนอีกจำนวนหนึ่งมีความจำยอดแย่ทั้งเกี่ยวกับหน้าคนและหรือชื่อคน ผมจัดอยู่ในกลุ่มหลังนี้ อันที่จริงในโลกยุคคอมพิวเตอร์ มีเครื่องไม้เครื่องมืออยู่มากที่จะช่วยการจดจำชื่อคน [อ่านต่อ]
โลกของยานยนต์พัฒนากันมานานนับร้อยปี เริ่มจากรถพลังไอน้ำอันนับเป็นยุค 1.0 พัฒนาไปเป็นรถยนต์พลังน้ำมันยุค 2.0 พร้อมๆกับพลังไฟฟ้า ทว่าเทคโนโลยีแบตเตอรีพัฒนาไปได้ไม่มากนัก รถไฟฟ้าจึงไปไม่รอด [อ่านต่อ]
กล้องโทรทรรศน์หรือเทเลสโคปสำรวจอวกาศแต่เดิมติดตั้งกันอยู่บนพื้นโลกกระทั่ง ค.ศ.1990 นาซ่าจึงนำกล้องเทเลสโคปชื่อ “ฮับเบิล” (Hubble) ขึ้นไปแขวนลอยบนอวกาศสูงจากพื้นโลก 547 กิโลเมตร [อ่านต่อ]